ย้อนมอง 2018 หุ่นยนต์อุตสาหกรรม และระบบอัตโนมัติเป็นอย่างไรในปีนี้?
ย้อนมองความเคลื่อนไหว เทรนด์ และไฮไลท์ของหุ่นยนต์อุตสาหกรรม และระบบอัตโนมัติในปี 2018
ย้อนมองความเคลื่อนไหว เทรนด์ และไฮไลท์ของหุ่นยนต์อุตสาหกรรม และระบบอัตโนมัติในปี 2018
ญี่ปุ่นประกาศนำหุ่นยนต์ยาม ซึ่งมีฟังก์ชันการนำทาง และเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติ มาทดลองใช้งานจริงตามสถานีรถไฟใต้ดินในตัวเมือง
ความร่วมมือระหว่าง AIST และ Kawasaki Heavy Industries โดย AIST ได้เข้าสนับสนุนการพัฒนาระบบควบคุม และระบบขับเคลื่อนหุ่นยนต์ ได้เป็นหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ที่มีข้อต่อจำนวนมาก แต่สามารถคว…
A-Traction ผู้ผลิตหุ่นยนต์การแพทย์ในเครือสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ประเทศญี่ปุ่น ประกาศพัฒนา “ “ANSUR” หุ่นยนต์ผู้ช่วยสำหรับการผ่าตัด
THK ร่วม Mizuno พัฒนา “Airy Jacket” Wearable Device รูปแบบเสื้อสำหรับ Service Robot ซึ่งมีคุณสมบัติในการช่วยระบายความร้อน
ผู้ผลิตชิ้นส่วนเครื่องฉีดพลาสติกในประเทศญี่ปุ่นประกาศความร่วมมือเพื่อเข้าสู่ยุคแห่ง IoT รวมทั้งจัดสาธิตไลน์การผลิตภายในงาน “NAGOYA PLASTIC INDUSTRIAL FAIR 2018”
MELTIN MMI บริษัทสตาร์ทอัพค่ายญี่ปุ่น รับเงินลงทุนจากธุรกิจในภาคอุตสาหกรรม พัฒนา “Avatar Robot” หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ควบคุมได้จากทางไกล
ไต้หวันประกาศรุกตลาดหุ่นยนต์บริการอย่างเต็มรูปแบบในปี 2019 โดยเริ่มจากประเทศญี่ปุ่นเป็นที่แรก ก่อนตามด้วยประเทศอื่น ๆ ถัดไป
ญี่ปุ่นพัฒนาระบบควบคุมการวิ่งของหุ่นยนต์สองขาด้วย Visual Feedback คาดต่อยอดสู่ระบบควบคุมการทำงานในสายพานการผลิตความเร็วสูง และ Factory Automation
นักวิจัยญี่ปุ่นพัฒนาหุ่นยนต์หมีดูแลผู้สูงอายุภาวะสมองเสื่อม รุ่นที่ 3 กำหนดทดลองใช้งานตามศูนย์ดูแลผู้ป่วยและสถานพยาบาลในปี 2019
Harvard's Microrobot หุ่นยนต์ขนาดเล็กที่ได้รับแรงบันดาลใจมากจากแมลงสาบ ไดร้บการออกแบบมาเพื่อช่วยเหลืองานของมนุษยชาติ ด้วยฟังก์ชันที่ไม่เล็กเหมือนตัว
แขนหุ่นยนต์ที่เลียนแบบมนุษย์ถูกพัฒนาขึ้นโดย ATR โดยได้พัฒนาถึงขั้นสามารถให้มันขยับเองได้ตามที่ใจเรานึก
1 ใน 3 ของผู้บริโภคทั่วโลก มีแผนที่จะซื้ออุปกรณ์ประเภทปัญญาประดิษฐ์ไว้ใช้ประจำบ้านเพิ่มขึ้น ขณะที่เทรนด์ของการซื้อสินค้าและบริการผ่านการใช้คำสั่งเสียง (Voice Commerce) ก็เริ่มดึงดูดเหล่านักธุรกิจค้าปลีกมากขึ้น
การเดินทางสู่โอลิมปิค 2020 นี้ ได้สร้างโอกาสในการแนะนำประเทศญี่ปุ่นทั้งในด้านเทคโนโลยี วัฒนธรรม และการท่องเที่ยว ในขณะเดียวกัน มีผู้แสดงความกังวลด้านเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นหลังโอลิมปิค
Future Robotics Technology Center (fuRo) แห่ง Chiba Institute of Technology พัฒนา “CanguRo” หุ่นยนต์ซึ่งมีคุณสมบัติในการทำงานหลายบทบาท
ABB และ Kawasaki Heavy Industries ผู้ผลิตระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ชั้นนำระดับโลกได้ร่วมมือกันจัดแสดงอินเตอร์เฟซที่สามารถใช้งานร่วมกันได้สำหรับ Collaborative robots, YuMI® และ duAro dua
สกพอ. เดินหน้าโรดโชว์ที่ญี่ปุ่น หวังดึงดูดนักลงทุนในพื้นที่ EEC งานนี้มีการเสนอแผนการพัฒนาพื้นที่ EEC โครงการลงทุนสำคัญ รวมถึงสิทธิประโยชน์ของนักลงทุนเพื่อให้นักลงทุนญี่ปุ่นมั่นใจว่ารัฐตั้งใจจะดำเนินโครงการ EEC อย่างจริงจัง
NIKKO KINZOKU ผู้ผลิตเหล็กหล่อทนความร้อนสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ในญี่ปุ่น ได้ปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตด้วยการนำหุ่นยนต์เข้ามาใช้ เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนแรงงาน
จากรายงานล่าสุด เผยว่า ทีมงานได้หยุดพัฒนาหุ่นยนต์ที่เป็นดั่งสัญลักษณ์ของการพัฒนาหุ่นยนต์ ASIMO ของฮอนด้าแล้ว เนื่องจากจะมุ่งเน้นพัฒนาหุ่นยนต์ที่สามารถทำงานได้จริงมากกว่า
ธุรกิจ System Integrator (SI) กว่า 140 ราย ประสานความร่วมมือก่อตั้งกลุ่มอุตสาหกรรมใหม่ในเดือนกรกฎาคมนี้ เพื่อตอบรับปัญหาการขาดแคลน SI ในสภาวะที่ความต้องการหุ่นยนต์พุ่งสูง