6 - 71 of 1411 Articles

ยอดส่งออกกลุ่มยานยนต์และชิ้นส่วนปี 2567 เดือนสิงหาคม ปิดที่ 82,901.51 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 0.71%

ยอดส่งออกกลุ่มยานยนต์และชิ้นส่วนปี 2567 เดือนสิงหาคม ปิดที่ 87,711.18 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 0.48%

ยอดส่งออกกลุ่มยานยนต์และชิ้นส่วนในเดือนสิงหาคม 2567 มีมูลค่ารวม 87,711.18 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 0.48% จากปี 2566 โดยรถยนต์ เครื่องยนต์ ชิ้นส่วนและอะไหล่ มีมูลค่าส่งออกรวม 82,901.51 ลบ.…

ยอดขายรถยนต์ 2567 เดือนสิงหาคม ลดลง 2.60% จากเดือนก่อนหน้า

ยอดขายรถดิ่ง! สิงหาคม 67 หดตัว 24.98% หนี้ครัวเรือนฉุด

ยอดขายรถยนต์ภายในประเทศของเดือนสิงหาคม 2567 มีจำนวนทั้งสิ้น 45,190 คัน ลดลง 2.60% จากเดือนกรกฎาคม 2567 และลดลง 24.98% จากเดือนเดียวกันในปีที่แล้ว สาเหตุหลักจากสถาบันการเงินเข้มงวดใ…

ยอดผลิตรถยนต์ 2567 เดือนสิงหาคม ลดลง 20.56% ผลิตเพื่อขายในประเทศและผลิตเพื่อส่งออกลดลง

ยอดผลิตรถยนต์ 2567 เดือนสิงหาคมดิ่ง 20% ทรุดทั้งในและนอกประเทศ!

ยอดผลิตรถยนต์ไทยเดือนสิงหาคม 2567 มีทั้งสิ้น 119,680 คัน ลดลง 20.56% จากเดือนสิงหาคม 2566 โดยลดลงทั้งการผลิตเพื่อขายในประเทศและผลิตเพื่อส่งออก และลดลง 4.12% จากเดือนกรกฎาคม 2567

อุตสาหกรรมพลาสติกไทย 2567 ไตรมาส 1 | ดัชนีผลผลิต-ส่งสินค้าขยายตัว เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า

อุตสาหกรรมพลาสติกไทย 2567 ไตรมาส 1 ดัชนีผลผลิต-ส่งสินค้า-ส่งออกขยายตัว

อุตสาหกรรมพลาสติกไตรมาสแรกของปี 2567 การผลิตและส่งสินค้าขยายตัว โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ประจำโต๊ะอาหาร ครัว และห้องน้ำ เช่นเดียวกันการส่งออกที่ขยายตัวตามความต้องการของตลาดคู่ค้า…

อุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ไทย ปี 2567 ไตรมาส 1 ผลิตได้ 4.14 แสนคัน ลดลง 9.12%

อุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ไทย ปี 2567 ไตรมาส 1 ผลิตได้ 4.14 แสนคัน ลดลง 9.12%

สถานการณ์การผลิตรถยนต์ในไตรมาสแรกของปี 2567 อยู่ในภาวะชะลอตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยตลาดในประเทศปรับตัวลดลงเนื่องจากความเข้มงวดในการอนุมัติสินเชื่อ ขณะที่ตลาดส่งออกม…

อุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์และชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ไทย ปี 2567 ไตรมาส 1 ผลิตได้ 5.33 แสนคัน เพิ่มขึ้น 10.51%

อุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์และชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ไทย ปี 2567 ไตรมาส 1 ผลิตได้ 5.33 แสนคัน เพิ่มขึ้น 10.51%

สถานการณ์การผลิตรถจักรยานยนต์ในไตรมาสแรกของปี 2567 อยู่ในภาวะชะลอตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยปัจจัยหลักจากตลาดในประเทศ แม้ว่าตลาดส่งออกมีการปรับตัวสูงขึ้นจากเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าเริ่มฟื้นตัวก็ตาม

ภาวะเศรษฐกิจโลก ไตรมาส 1/2567

ภาวะเศรษฐกิจโลก ไตรมาส 1/2567

ภาพรวมเศรษฐกิจโลกในไตรมาสไตรมาสที่ 1 ปี 2567 ขยายตัวอย่างต่อเนื่องจากไตรมาสก่อน ตามการฟื้นตัว ทางเศรษฐกิจของประเทศหลักอย่างสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป จากการขยายตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ

อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าในไตรมาสที่ 1 ปี 2567 และแนวโน้มไตรมาสที่ 2 ปี 2567

อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า 2567 ไตรมาส 1 ชะลอตัว ตลาดโลกซบเซา

อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าในไตรมาสแรกของปี 2567 มีดัชนีผลผลิตอยู่ที่ 100.7 ลดลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 1.3 (%YoY) แต่หากเทียบกับไตรมาสที่แล้วเพิ่มขึ้นร้อยละ 29.8 (%QoQ)

อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าไตรมาสที่ 1 ปี 2567 ยอดผลิต

อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าไตรมาสที่ 1 ปี 2567 ยอดผลิต "เหล็กเส้นกลม" อ่วมสุด

ในปี 2567 ไตรมาสแรก อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้ามีค่าดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมอยู่ที่ 86.5 หดตัวจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 6.8 (%YoY) แต่ขยายตัวจากไตรมาสก่อนร้อยละ 6.6 (%QoQ)

ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไทยไตรมาสที่ 1/2567

ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไทยไตรมาสที่ 1/2567

ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไทยไตรมาสที่ 1 ปี 2567 เมื่อพิจารณาจากดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) มีค่าอยู่ที่ 100.93 ลดลงร้อยละ 3.58 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เป็นการปรับตัวลดลงเป็นไตรมาสที่ 6 ติดต่อกัน

ส่งออกไทย 2567 เดือนกรกฎาคม ขยายตัว 15.2% สูงสุดในรอบ 28 เดือน

ส่งออกไทย 2567 เดือนกรกฎาคม ขยายตัว 15.2% สูงสุดในรอบ 28 เดือน

สถานการณ์ส่งออกไทยเดือนกรกฎาคม 2567 มีมูลค่า 25,720.6 ล้านเหรียญสหรัฐ (938,285 ล้านบาท) ขยายตัวร้อยละ 15.2 นับเป็นอัตราการเติบโตสูงสุดในรอบ 28 เดือน นับตั้งแต่เดือนมีนาคม 2565

จีนชะลอตัวหนัก! ภาคการผลิตทรุด PMI ต่ำสุดในรอบ 6 เดือน

จีนชะลอตัวหนัก! ภาคการผลิตทรุด PMI ต่ำสุดในรอบ 6 เดือน

สำนักงานสถิติแห่งชาติจีนรายงานดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ PMI ลดลงเหลือ 49.1 จาก 49.4 เศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับสองของโลกสูญเสียโมเมนตัมมากขึ้นในเดือนกรกฎาคม ภาคการผลิตร่วงลงสู่ระดับต่ำสุดในรอบหกเดือน

ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นปี 2567 เดือนกรกฎาคม ไทยสั่งซื้อลดฮวบ 38%

ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นปี 2567 เดือนกรกฎาคม ไทยสั่งซื้อลดฮวบ 38%

สมาคมเครื่องจักรกลญี่ปุ่น (JMTBA) รายงานยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกในเดือนกรกฎาคม 2567 มีมูลค่ารวม 123,942 ล้านเยน (843.86 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) ลดลง 7.4% จากเดือนที่แล้ว พลิกกลับมาลดลงอีกครั้ง

ดัชนี SMESI เดือนกรกฎาคม 2567 อยู่ที่ระดับ 49.9 ลดลงจากระดับ 52.0 ของเดือนก่อนหน้า

ดัชนี SMESI เดือนกรกฎาคม 2567 อยู่ที่ระดับ 49.9 จาก 52.0 ของเดือนก่อนหน้า

สสว. เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SME เดือนกรกฎาคม2567 อยู่ที่ระดับ 49.9 ลดลงจากระดับ 52.0 ของเดือนก่อนหน้า ซึ่งปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3

ยอดผลิตรถจักรยานยนต์ไทยเดือนกรกฎาคม 2567 ลดลง 8.01 % แต่ชิ้นส่วนประกอบ CKD เพิ่มขึ้น 14.52%

ยอดผลิตรถจักรยานยนต์ไทยทรุด! กรกฎาคม 2567 ลดลง 8.01%

ในเดือนกรกฎาคม 2567 ไทยผลิตรถจักรยานยนต์ได้ทั้งสิ้น 179,176 คัน ลดลง 8.01% จากปีที่แล้ว ขณะที่ยอดขายรถจักรยานยนต์มีจำนวนทั้งสิ้น 141,557 คัน ลดลง 5.97% จากเดือนมิถุนายน 2567 และลดลง 6.12% จากปีที่แล้ว

ยอดส่งออกกลุ่มยานยนต์และชิ้นส่วนปี 2567 เดือนกรกฎาคม ปิดที่ 81,434.29 ล้านบาท ลดลง 11.71%

ยอดส่งออกกลุ่มยานยนต์และชิ้นส่วนปี 2567 เดือนกรกฎาคม ปิดที่ 86,509.24 ล้านบาท หดตัว 12% สงครามตะวันออกกลางฉุดหนัก

ยอดส่งออกกลุ่มยานยนต์และชิ้นส่วนในเดือนกรกฎาคม 2567 มีมูลค่ารวม 86,509.24 ล้านบาท ลดลง 12.10% จากปี 2566 โดยรถยนต์ เครื่องยนต์ ชิ้นส่วนและอะไหล่ มีมูลค่า 81,434.29 ลบ. ในด้านของรถ…

ยอดจดทะเบียนใหม่ยานยนต์ไฟฟ้าทุกประเภท เดือนมิถุนายน 2567

ยอดจดทะเบียนใหม่ยานยนต์ไฟฟ้าทุกประเภท เดือนกรกฎาคม 2567

ยอดจดทะเบียนใหม่ (ป้ายแดง) ยานยนต์ไฟฟ้าในเดือนกรกฎาคม 2567 รถ BEV จดทะเบียนใหม่มีจำนวน 8,332 คัน เพิ่มขึ้น 20.68% จากเดือนกรกฎาคมปีที่แล้ว

ยอดขายรถยนต์ 2567 เดือนกรกฎาคม ลดลง 2.66% จากเดือนก่อนหน้า

ยอดขายรถยนต์ 2567 เดือนกรกฎาคม ลดลง 2.66% จากเดือนก่อนหน้า

ยอดขายรถยนต์ภายในประเทศของเดือนกรกฎาคม 2567 มีจำนวนทั้งสิ้น 46,394 คัน ลดลง 2.66% จากเดือนมิถุนายน 2567 และลดลง 20.58% จากเดือนเดียวกันในปีที่แล้ว

ยอดผลิตรถยนต์ 2567 เดือนกรกฎาคม ลดลง 16.62% เพราะผลิตขายในประเทศลดลง

ยอดผลิตรถยนต์ 2567 เดือนกรกฎาคม ลดลง 16.62% ผลิตขายในประเทศไม่กระเตื้อง

ยอดผลิตรถยนต์ไทยเดือนกรกฎาคม 2567 มีทั้งสิ้น 124,829 คัน ลดลง 16.62% จากเดือนกรกฎาคม 2566 มีปัจจัยจากผลิตขายในประเทศลดลง 40.85% ตามยอดขายรถยนต์ในประเทศที่ลดลง

ญี่ปุ่นทุ่มงบ R&D พุ่งทะยาน โตโยต้ายังครองแชมป์

ญี่ปุ่นทุ่มงบ R&D พุ่งทะยาน โตโยต้ายังครองแชมป์

ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของบริษัทญี่ปุ่นเพิ่มขึ้นเป็นปีที่ 15 ติดต่อกัน โตโยต้าคว้าอันดับหนึ่งด้วยมูลค่า 1.3 ล้านล้านเยน ตามผลสำรวจ และบริษัทมากกว่า 70% มุ่งเน้นด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงาน