เทคโนโลยีการวัดด้วยกล้อง ต่อลมหายใจทารกน้อย อย่างไร?

เทคโนโลยีการวัดด้วยกล้อง ต่อลมหายใจทารกน้อย อย่างไร?

อัปเดตล่าสุด 29 มิ.ย. 2564
  • Share :
  • 709 Reads   

เผยเบื้องหลังการผลิตเครื่องช่วยหายใจสำหรับทารกน้อย ซึ่งอาศัยเทคโนโลยีการวัดด้วยกล้อง  ZEISS O-INSPECT ก้าวข้ามความท้าทายได้สำเร็จ ทำให้แม่นยำสองเท่า และร่นเวลาการตรวจวัดชิ้นงาน 

เทคโนโลยีการวัดด้วยกล้อง ZEISS O-INSPECT เครื่องมือวัดแบบสแกนสัมผัสและแบบใช้แสง ซึ่งช่วยเพิ่มความแม่นยำและลดระยะเวลาในการตรวจวัดชิ้นส่วนเครื่องช่วยหายใจ

ผู้ผลิตเครื่องช่วยหายใจสำหรับทารกน้อยแรกเกิด Hossinger Kunststofftechnik ธุรกิจครอบครัวซึ่งตั้งอยู่ทางตอนเหนือของบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี เปิดเผยเคล็ดลับในการผลิตเครื่องช่วยหายใจสำหรับทารกน้อย ซึ่งเครื่องนี้ทำหน้าที่จ่ายอากาศที่สม่ำเสมอ ดังนั้น อุปกรณ์จะต้องปิดผนึกอย่างแน่นหนาที่สุดและชิ้นส่วนต้องมีความแม่นยำอย่างยิ่ง 

เทคโนโลยีการวัดด้วยกล้อง ต่อลมหายใจทารกน้อย อย่างไร?


ความท้าทาย: “ชิ้นส่วนที่ต้องการความแม่นยำ” สำหรับระบบสูญญากาศของเครื่องช่วยหายใจ

เครื่องช่วยหายใจสำหรับทารกน้อยแรกเกิด ทำหน้าที่จ่ายอากาศที่สม่ำเสมอ โดยหลักการของเครื่องช่วยหายใจซีแพพ (CPAP: Continuous Positive Airway Pressure)  คือการเติมออกซิเจนให้กับทารกผ่านทางท่อและให้แรงดันในระดับเกินมาตรฐานเล็กน้อย 

“เครื่องช่วยหายใจจะอัดอากาศได้อย่างสมบูรณ์ ก็ต่อเมื่อชิ้นส่วนทุกชิ้นได้รับการผลิตด้วยความแม่นยำสูงสุด”

 

ชิ้นส่วนแต่ละชิ้นถูกประกอบเข้าด้วยกันอย่างพอดิบพอดี แทนการใช้กาวต่อติดกัน ต้องเจอกับความท้าทายอะไรบ้าง

  • ความหนาของผนังชิ้นส่วนเพียง 0.33 มิลลิเมตร 
  • กำหนดความคลาดเคลื่อนอยู่ที่ 10 ไมโครเมตร 
  • ชิ้นส่วนที่มีรูปทรงอิสระ มีรูปร่างซับซ้อน และสีของผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างกันของแต่ละชิ้นส่วน 

สิ่งเหล่านี้ทำให้การตรวจสอบคุณภาพทำได้ยาก ใช้เวลา และบางครั้งมีค่าใช้จ่ายสูงอีกด้วย

เทคโนโลยีการวัดด้วยกล้อง ต่อลมหายใจทารกน้อย อย่างไร?

วิธีแก้ปัญหา: หลักการวัดสามประการในเครื่องมือวัดเดียว

Christian Bindl ผู้จัดการฝ่ายคุณภาพของ Hossinger Kunststofftechnik เปิดเผยว่า การสแกนแบบสัมผัส การวัดด้วยกล้อง และเซนเซอร์แสงสีขาว เป็นวิธีการวัดอย่างต่อเนื่องของ ZEISS O-INSPECT ซึ่งรวมหลักการวัดสามประการไว้ในเครื่องเดียว ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพสูง ทั้งความแม่นยำเป็นสองเท่า และลดเวลาในการตรวจวัดอีกด้วย

 

รู้หรือไม่? ZEISS เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องเลนส์และแสงมามากกว่า 175 ปี 

คุณรู้หรือไม่? ZEISS เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องเลนส์และแสงมามากกว่า 175 ปี จึงทำให้เราพัฒนาเทคโนโลยีการวัดด้วยแสงและมาตรวิทยาเชิงแสงได้อย่างโดดเด่น 

เมื่อเข้าสู่โลกของมาตรวิทยาเชิงแสง การวัดที่ซับซ้อนสามารถทำได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย ด้วยกล้องคุณภาพสูง ระบบการจับภาพอัตโนมัติระดับสูงและเซนเซอร์ที่ล้ำสมัย และแสงที่สามารถปรับเปลี่ยนได้หลากหลายเพื่อการวัดที่แม่นยำในทันที ช่วยให้ทำงานได้รวดเร็วและแม่นยำ โดยเฉพาะงานวัดที่มีขนาดเล็ก ไม่ต้องการการสัมผัส และต้องการความแม่นยำสูง คุณสมบัติเหล่านี้มีอยู่ในเครื่อง: ZEISS O-INSPECT และ ZEISS O-DETECT

เทคโนโลยีการวัดด้วยกล้อง ต่อลมหายใจทารกน้อย อย่างไร?


ข้อแตกต่างของ ZEISS O-INSPECT:

  • การวัดแบบสแกนสัมผัส 3D ที่รวดเร็วและแม่นยำ
  • การวัดด้วยแสงสำหรับพื้นผิวที่ละเอียดอ่อน
  • สามารถวัดชิ้นงานได้ตามมาตรฐาน ISO-10360
  • จับภาพขนาดใหญ่ 4X พร้อมความคมชัดระดับสูง
  • เพิ่มเซนเซอร์ DotScan สำหรับผิวงานสะท้อนแสง

ข้อมูลเพิ่มเติม - ดาว์นโหลดโบรชัวร์:
https://www.zeiss.com/metrology/products/systems/optical-measurement/o-inspect.html

ข้อแตกต่างของ ZEISS O-DETECT:

  • เลนส์ที่ดีเยี่ยม
  • การจับภาพอัตโนมัติและการแสดงภาพชิ้นส่วนทำได้ง่ายและรวดเร็ว
  • ความแม่นยำคงที่เหนือระดับ
  • ซอฟต์แวร์ที่เป็นมิตรและใช้งานง่าย
  • หลากหลายและง่ายต่อการอัปเกรด
  • รายงานผลวัดอย่างมืออาชีพ

ข้อมูลเพิ่มเติม - ดาว์นโหลดโบรชัวร์:
https://www.zeiss.com/metrology/products/systems/optical-measurement/o-detect.html

 


สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ 081-889-3679
Email: [email protected]  
Line official account: https://lin.ee/GhjH2Jf 
 
 

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม “Room to Breath, Precision in Metrology” คลิก
https://www.zeiss.com/metrology/_successstories/whr-hossinger.html  
 

อ่านข่าวอื่น ๆ ของ Carl Zeiss

 

#Carl Zeiss #ZEISS #ZEISS Metrology #ZEISS O-INSPECT #3D Scan #ชิ้นส่วนขนาดเล็ก #ชิ้นส่วนที่ต้องการความแม่นยำสูง #สแกนแบบสัมผัส #วัดด้วยกล้อง #เซนเซอร์แสงสีขาว #ZEISS O-DETECT #Multisensor Measuring Machine #Metrology #Optical Measurement #Optical Measuring Machine #เครื่องมือวัด ZEISS #เครื่องมือวัด #วัดชิ้นงาน