เทเลนอร์ เผย ‘7 เทรนด์’ เทคโนโลยีมาแรงในปี 2562
ศูนย์วิจัยเทเลนอร์ เผย 7 แนวโน้มเทคโนโลยีมาแรงในปี 2562
ศูนย์วิจัยเทเลนอร์ เผย 7 แนวโน้มเทคโนโลยีมาแรงในปี 2562
Canon ประสบความสำเร็จ พัฒนาเทคโนโลยี 3D Printing สำหรับพิมพ์ชิ้นงานเซรามิกที่มีรูปทรงซับซ้อน
NTT ได้จัดงาน “R&D Forum” เพื่อแสดงเทคโนโลยี IoT ที่มีแนวโน้มนำไปใช้งานจริงเร็ว ๆ นี้ โดย “แบตเตอรี่ใส” เป็นหนึ่งในสิ่งที่น่าจับตามอง
A-Traction ผู้ผลิตหุ่นยนต์การแพทย์ในเครือสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ประเทศญี่ปุ่น ประกาศพัฒนา “ “ANSUR” หุ่นยนต์ผู้ช่วยสำหรับการผ่าตัด
CAP ผู้ผลิตแม่พิมพ์ค่ายญี่ปุ่น พัฒนาเทคโนโลยีการขึ้นรูปชิ้นส่วนยานยนต์จาก CFRP (Carbon Fiber Reinforced Polymer) ให้แข็งแรงเทียบเท่า High Tensile Steel แต่เบาลงมากกว่าครึ่ง
สถานีโทรทัศน์ญี่ปุ่น จะเริ่มทำการออกอากาศ “4K” ซึ่งมีความละเอียดภาพกว่าการออกอากาศแบบ Full HD ในปัจจุบัน 4 เท่า และ “16K” ความละเอียดภาพสูงกว่าถึง 16 เท่า ในเดือน ธ.ค. นี้
ข้อต่อขนาดเล็ก รูปทรงกลม สำหรับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบ 2 แกน มีคุณสมบัติในการหมุนได้รอบโดยไม่มีข้อจำกัด
PricewaterhouseCoopers (PwC) เผย EASCY คือ แนวโน้มของอุตสาหกรรมยานยนต์
รัฐบาลจีนเปิดตัว “ผู้ประกาศข่าวปัญญาประดิษฐ์” (AI) คนแรกของโลกและสามารถทำงานได้ตลอด 24 ชั่วโมง
NTT DoCoMo ผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือค่ายญี่ปุ่น ร่วม AGC ผู้ผลิตกระจก อิเล็กทรอนิกส์ และเคมีภัณฑ์ พัฒนาเทคโนโลยี “Glass Antenna” เปลี่ยนกระจกอาคารเป็นสถานีรับส่งสัญญาณโทรศัพท์มือถือ
สมาร์ทโฟนแบบพับงอได้ กำลังเป็นเทรนด์ที่ผู้พัฒนาสมาร์ทโฟนหลายรายให้ความสนใจ โดยใช้จุดเด่นของ OLED เทคโนโลยีจอภาพแบบบาง มีความยืดหยุ่นและโค้งงอได้ ไม่ใช้ ฺฺBacklight ในการให้แสง
Fujitsu ร่วมกับ Movie Walker ทดลองระบบโรงหนังไร้ตั๋ว โดยใช้เทคโนโลยีในการระบุตัวตนผู้เข้าใช้จากข้อมูลชีวภาพ (Biological Information)
เมื่อ AI เขียนโปรแกรมได้ คาดเป็นประโยชน์ต่อ SMEs ในอนาคต
Nagoya University ร่วม University of Tokushima และ Aisin Seiki ประกาศพัฒนาเทคโนโลยีควบคุมยานยนต์ด้วย Multimodal Interaction เช่น คำสั่งเสียง สายตา และอื่น ๆ
KANEMITSU CORPORATION นำเทคโนโลยีซิมูเลชันเข้ามาใช้ในการออกแบบและพัฒนาชิ้นส่วนยานยนต์ ลดจำนวนครั้งที่จำเป็นต้องใช้ในการทดสอบจริง เพื่อการพัฒนาที่รวดเร็วนำสู่การลดต้นทุนที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
Imanishi Manufacturing ทดลองใช้ “Modular Design” ในงานเชื่อมโลหะ มุ่งลด Procees การทำงาน และลดต้นทุน โดยเริ่มจากใช้เชื่อมชิ้นส่วนยานยนต์ขนาดใหญ่
ต้นแบบ “ร้านสะดวกซื้อแห่งอนาคต” จาก Lawson
University of Southern Denmark สาธิตการใช้ 3D Printer ร่วมกับแขนหุ่นยนต์ แสดงศักยภาพในการประกอบชิ้นส่วนขนาดเล็ก เช่น ตะปูเกลียว แหวนรอง ตลับลูกปืน
Amcenna คือ ชื่อของ “Artificial Magnetic Conductor (AMC)” ขนาดเล็ก และบางพิเศษ เพียง 1 ใน 60 จาก ACM ทั่วไป ซึ่งเป็นผลงานวิจัยจากบริษัท Kyocera
ในงาน CEATEC JAPAN 2018 ที่จัดแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรม สำหรับการเข้าสู่ยุค “Society 5.0” ที่ประเทศญี่ปุ่น ผู้ผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ต่างนำเทคโนโลยีด้าน IoT มาเปิดตัว