ภารกิจ พิชิตดวงจันทร์ “1 คน ควบคุม 1,000 Avatar Robots”

สำนักงานคณะรัฐมนตรีประเทศญี่ปุ่น เล็งเห็นถึงความสำคัญของเทคโนโลยีควบคุมหุ่นยนต์ระยะไกล ตั้งเป้าว่ามนุษย์ 1 คน จะต้องควบคุมหุ่นยนต์ทางไกลได้มากกว่า 1,000 ตัวในปี 2050 ในขณะที่ Sony …

วิศวะฯ ธรรมศาสตร์ อวดโฉม ‘แขนกลไบค์เลน’ AI คัดกรองเลนจักรยาน

วิศวะฯ ธรรมศาสตร์ พัฒนา “แขนกลไบค์เลน” นวัตกรรมแขนกลอัจฉริยะที่ช่วยคัดกรอง และกีดขวางรถจักรยานยนต์ที่ขับขี่บนเลนจักรยาน หวังนำร่องใช้ในเขตกรุงเทพฯ-หัวเมืองใหญ่ ให้นักปั่นสัญจรคล่องตัวและปลอดภัย

วิ่งไป ชาร์จไป แบบไร้สาย ต่อยอดใช้กับหุ่นยนต์โรงงาน รถยนต์ไฟฟ้า

ทีมวิศวกรจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University) เปิดตัวเทคโนโลยีแท่นชาร์จไฟฟ้าไร้สายสำหรับวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ สามารถนำมาใช้ชาร์จไฟให้กับหุ่นยนต์ในสายการผลิต และคลังสินค้าได้

นักวิจัยเผย ชิ้นส่วนเครื่องยนต์ จาก Engineering Plastics เบา-ทน-ถูก ลด CO2

ทีมวิจัยจากสถาบันฟรอนโฮเฟอร์ ร่วมมือกับพันธมิตร ประสบความสำเร็จในการผลิตชิ้นส่วนเพลาลูกเบี้ยว (Camshaft) จาก Fiber Reinforced Polymer (FRP) เทอร์โมเซตติงพอลิเมอร์ที่เสริมแรงด้วยไฟเบอร์

โควิด ปั้น 2 เทคโนโลยีคลื่นลูกใหม่ ใช้ร่วมหุ่นยนต์โรงงาน

ผลกระทบจากโควิด-19 ที่ทำให้สายการผลิตหยุดชะงักลงนั้น กำลังจะสร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับอนาคตของหุ่นยนต์ในสายการผลิต เทคโนโลยีควบคุมระยะไกล และ ดิจิทัลทวิน ได้กลายเป็นคลื่นลูกใหม่

เยอรมันเผย หุ่นยนต์ QC งานเชื่อมชิ้นส่วนยานยนต์ แบบไร้สัมผัส

สมาคมฟรอนโฮเฟอร์ ร่วม Volkswagen, Heinrich Hertz Institute, และ HHI ดำเนินโครงการ “EASY COHMO” เพื่อพัฒนาระบบตรวจสอบคุณภาพงานเชื่อมแบบไร้สัมผัส ด้วยการทำงานร่วมกันของมนุษย์ และหุ่นยนต์

10 ตัวอย่างที่นำ 5G มาใช้งานได้อย่างน่าสนใจและประสบผลสำเร็จ

WEF ได้จัดทำสมุดปกขาวเรื่อง “ผลกระทบของ 5G: การสร้างคุณค่าใหม่สู่อุตสาหกรรมและสังคม” เผยแพร่ พร้อมหยิบยก 10 ตัวอย่างที่นำ 5G มาใช้งานได้อย่างน่าสนใจและประสบผลสำเร็จ อ่านเพิ่มเติมในบทความนี้

Cognex เปิดตัว In-Sight D900 กล้อง AI อัจฉริยะสำหรับงานอุตสาหกรรมตัวแรกของโลก

In-Sight D900 โซลูชันครบวงจรสำหรับงานตรวจสอบในสายการผลิตที่ซับซ้อนของหลากหลายอุตสาหกรรม อาทิ ยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์การแพทย์ และโลจิสติกส์ เป็นต้น

350-หุ่นยนต์-5G-ROC-AIS-โควิด-19

ROC หุ่นยนต์ 5G New Normal การแพทย์

“เอไอเอส” เดินหน้าพัฒนา “ROC : Robot for care” หุ่นยนต์ตัวแรกที่ทำงานบนเครือข่าย 5G ช่วยแพทย์รับมือวิกฤตโควิด-19

Reversible Polymers แข็ง 1,800 เท่าด้วยความร้อน

คณะวิจัยจากมหาวิทยาลัยฮอกไกโด ประเทศญี่ปุ่น ประสบความสำเร็จในการพัฒนาวัสดุอัจฉริยะ ประเภทโพลีเมอร์ ซึ่งมีลักษณะเหมือนวุ้น ที่เรียกว่า “Reversible Polymers”

เทคโนโลยีชีวภาพ Isuzu เปิดตัว ไบโอดีเซลจากสาหร่าย แทนน้ำมันได้ 100%

Isuzu ร่วมกับ euglena ประกาศความสำเร็จของโครงการ “DeuSEL” พัฒนาเชื้อเพลิงไบโอดีเซลจากสาหร่ายยูกลีนา ใช้เป็นเชื้อเพลิงในยานยนต์ และนำก๊าซคาร์บอนที่ถูกปล่อยออกมาจากยานยนต์ กักเก็บไว้…

สจล. เปิดตัว “AI ตรวจคุณภาพหน้ากากอนามัย” พร้อมฟังก์ชันประเมินประสิทธิภาพการป้องกันไวรัส

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เปิดตัว “นวัตกรรมปัญญาประดิษฐ์ ตรวจสอบคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัย” เพื่อลดความเสี่ยงจากการใช้แรงงานคน เพิ่มกำลังผลิตและความแม่นยำในการ…

งานวิจัย เครื่องพิมพ์ 3 มิติ

งานวิจัย เครื่องพิมพ์ 3 มิติ แม่นยำระดับไมครอน

คณะวิจัยจากเยอรมนี เผยโฉมเทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติ ที่ก้าวข้ามข้อจำกัดเดิม เพื่อการชิ้นงานขนาดเล็กได้อย่างแม่นยำระดับไมครอน และสามารถผลิตได้ด้วยความเร็วสูงอีกด้วย

สจล. ผนึก กทม. มอบ 3 นวัตกรรมการแพทย์ เครื่องช่วยหายใจ-ห้องความดันลบ-ตู้ตรวจเชื้อ ช่วยผู้ป่วยโควิด-19

ศูนย์รวมนวัตกรรม KMITL GO FIGHT COVID-19 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ส่งมอบ 3 นวัตกรรมการแพทย์ ได้แก่ เครื่องช่วยหายใจอัตโนมัติขนาดเล็ก, ห้องแยกโรคความดันลบ และต…

317-หุ่นยนต์-จุฬา-โควิด-19

จุฬาฯ ขนกองทัพหุ่นยนต์ 103 ตัว ช่วยทีมหมอทั่วประเทศสู้โควิด

สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เปิดตัวหุ่นยนต์ “CU-RoboCOVID” 103 ชุด นำทีมโดย “หุ่นยนต์ปิ่นโต” มอบให้ รพ.ทั่วประเทศ เพื่อแบ่งเบาภาระงานและเพิ่มประ…

เทคโนโลยีมือหุ่นยนต์ต้นแบบ จากเกาหลีใต้ ทำงานใกล้เคียงมือมนุษย์จริง

สถาบันเครื่องจักรและวัสดุแห่งเกาหลี (KIMM) เปิดตัว มือหุ่นยนต์ต้นแบบ หนักเพียง 1 กิโลกรัม แต่หยิบจับวัตถุหนักได้ถึง 3 กิโกกรัม และทำงานละเอียดอย่างการเทน้ำ หรือกระทั่งเล่นเปียโนได้

เทคโนโลยีพลาสติกชีวภาพ กระจกซ่อมตัวเอง

เทคโนโลยีพลาสติกชีวภาพ คืบหน้าไปอีกขั้น พัฒนา “กระจกซ่อมตัวเอง”

ศูนย์วิจัยวัสดุในเครือ RIKEN ประเทศญี่ปุ่น ได้ประสบความสำเร็จในการพัฒนากระจกเรซิ่นที่สามารถซ่อมแซมตัวเองได้ ผลิตจากวัสดุ Polyether-Thiourea

036-เทคโนโลยีแบตเตอรี่-ยานยนต์ไฟฟ้า-Potassium-Metal-Battery

เทคโนโลยีแบตเตอรี่ คืบหน้า ทีมวิจัยสหรัฐฯ พัฒนา “แบตเตอรี่โพแทสเซียม”

ทีมวิจัยสหรัฐฯ พัฒนาเทคโนโลยีแบตเตอรี่ ที่อาจเข้ามาแทน “แบตเตอรี่ลิเธียมไออน” ในอนาคต พร้อมเปิดเผย สิ่งที่ทำให้ “แบตเตอรี่โพแทสเซียม” ได้รับความสนใจ ไม่ได้มีเพียงต้นทุนในการผลิตเท่านั้น

Sumitomo Chemical เผย วัสดุแห่งอนาคต ดีมานด์พุ่งในยุค 5G และ CASE

Sumitomo Chemical เผย ความต้องการวัสดุเฉพาะทาง (Functional Materials) จะเพิ่มมากยิ่งขึ้น เพื่อรองรับแนวคิด CASE ในอุตสาหกรรมยานยนต์ และเทคโนโลยีเครือข่าย 5G ที่เข้ามาเปลี่ยนโลกอนาคต