
เดือน พ.ค.64 จดทะเบียนเปิดโรงงานใหม่ 223 รง.ทั่วประเทศ 'ระยอง' เงินลงทุนสูงเกือบ 5 หมื่นล้าน
ตัวเลขโรงงานจดทะเบียนใหม่ทั่วประเทศเดือนพฤษภาคม 2564 รวม 223 รง. เม็ดเงินลงทุนไหลสู่ 'ระยอง' จังหวัดเดียว 4.9 หมื่นล้านบาท
ตัวเลขโรงงานจดทะเบียนใหม่ทั่วประเทศเดือนพฤษภาคม 2564 รวม 223 รง. เม็ดเงินลงทุนไหลสู่ 'ระยอง' จังหวัดเดียว 4.9 หมื่นล้านบาท
ภาวะการค้าต่างประเทศเดือนพฤษภาคม 2564 ขยายตัว 41.59% (YoY) ทำสถิติเหนือระดับ 2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4
การผลิตรถยนต์ในเดือนพฤษภาคม 2564 เพิ่มขึ้น 34.32% จากเดือนก่อนหน้า และเพิ่มขึ้น 150% จากตัวเลขฐานต่ำปีก่อน
ในเดือนพฤษภาคม 2564 ยอดขายรถยนต์ในประเทศ มีจำนวนทั้งสิ้น 55,942 คัน ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้า แต่ตัวเลขเพิ่มขึ้นหากเทียบกับปีที่แล้ว
ในเดือนพฤษภาคม 2564 ไทยมีการผลิตรถจักรยานยนต์ทั้งสิ้น 209,310 คัน เพิ่มขึ้นอีกครั้ง หลังผลิตลดลงในเดือนก่อนหน้า
เดือนพฤษภาคม 2564 อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนไทย มีมูลค่าส่งออกรวม 77,501.96 ล้านบาท เพิ่มจากเดือนก่อนหน้า ที่ทำมูลค่าได้เพียง 54,293.65 ล้านบาท
คาดการณ์ปี 2021 อุตสาหกรรมเครื่องจักรกลฟื้นตัวดีและมั่นคงกว่าที่คิด ความต้องการทั่วโลกจะเพิ่มขึ้น 15% และจะเพิ่มขึ้นอีก 7.5% ในปีถัดไป
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ไทย ปี 2564 ประจำไตรมาสที่ 1 และแนวโน้มไตรมาสที่ 2 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 1 สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เผยสถานการณ์อุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์และชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ในไตรมาสที่ 1/2564
อุตสาหกรรมพลาสติกไตรมาส 1/2564 ดัชนีผลผลิต-ส่งสินค้าไตรมาสแรก แม้ว่าจะขยายตัวดีกว่าไตรมาสก่อน แต่ยังอยู่ในระดับต่ำกว่าช่วงเดียวกันในปีที่แล้ว
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไทย ปี 2564 ประจำไตรมาสที่ 1 และแนวโน้มไตรมาสที่ 2 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 1 สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมไฟฟ้า ปี 2564 ประจำไตรมาสที่ 1 และแนวโน้มไตรมาสที่ 2 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 1 สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
ผู้ผลิตเครื่องจักรกลเยอรมันกว่าครึ่งกำลังเผชิญปัญหาใหญ่จากการขาดแคลนชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เหล็กและโลหะ อาจส่งผลให้การฟื้นตัวของอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลต้องล่าช้าออกไป
สถานการณ์อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าของไทยในไตรมาสที่ 1 ปี 2564 มีการขยายตัวทั้งด้านการผลิต การบริโภค และนำเข้า โดยคาดการณ์ว่าจะยังคงขยายตัวในไตรมาสถัดไป
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวมกว่า 1.27 แสนล้านเหรียญ ส่งออกกลับมาขยายตัว 2.3% ในขณะที่นำเข้ายายตัว 9.4 % เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าในไตรมาสนี้ เกินดุลราว 500 ล้านเหรียญ
ส.อ.ท. เผยดัชนีเชื่อมั่นอุตสาหกรรม พ.ค. 64 อยู่ที่ 82.3 ลดลงจากระดับ 84.3 ในเดือนก่อนหน้า ดัชนีฯ ถอยลง 2 เดือนต่อเนื่อง และต่ำสุดในรอบ 11 เดือน
สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไตรมาสที่ 1 ปี 2564 ดัชนี MPI ขยายตัว 7.6% ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า
ตัวเลขโรงงานจดทะเบียนใหม่ทั่วประเทศในเดือนเมษยน 2564 รวม 232 รง. จ้างงานเพิ่มขึ้น 6,031 คน เงินลงทุนรวม 11,712.81 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า
ดัชนี MPI เม.ย. 64 อยู่ที่ระดับ 91.88 เพิ่มขึ้น 18.46% รวม 4 เดือนแรกปีนี้ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 4.38 และมีอัตราการใช้กำลังผลิตอยู่ที่ร้อยละ 65.48
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกในเดือนเมษายน 2021 ปิดที่ 1,140 ล้านเหรียญ โตต่อเนื่องเดือนที่ 6 ส่งออกฟื้นทำยอดใกล้เคียงปี 2018 ก่อนเกิดสงครามการค้า