
รายงานภาวะอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ของประเทศไทย ประจำเดือนเมษายน 2563
อุตสาหกรรมแม่พิมพ์ภาพรวมในเดือนเมษายน 2563 ประเทศไทยมีการนำเข้าและส่งออกขยับตัวสูงขึ้นจากเดือนก่อนหน้าเล็กน้อย อย่างไรก็ตามยังมีการขาดดุลการค้าเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า
อุตสาหกรรมแม่พิมพ์ภาพรวมในเดือนเมษายน 2563 ประเทศไทยมีการนำเข้าและส่งออกขยับตัวสูงขึ้นจากเดือนก่อนหน้าเล็กน้อย อย่างไรก็ตามยังมีการขาดดุลการค้าเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า
มหาวิทยาลัยมหิดล คิดค้นนวัตกรรม “หุ่นยนต์เอไอ-อิมมูไนเซอร์ (AI-Immunizer)” ทดสอบภูมิคุ้มกันอัจฉริยะในการพัฒนาวัคซีน ยกระดับการพัฒนาวัคซีนของไทยสู่ระดับโลก
ภาพรวมอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ในเดือนเมษายน 2563 การส่งออกปรับตัวสูงขึ้นจากเดือนมีนาคม ถึง 6 เท่า ขณะที่การนำเข้าปรับตัวลดลงเล็กน้อย และเมื่อเทียบกับเดือนที่ผ่านมาดุลการค้าปรับตัวดีขึ้น
กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เผยข้อมูลสถิติจำนวนโรงงานเปิดใหม่ เดือนพฤษภาคม 2563 พบว่าอันดับ 1 คือ จังหวัดสมุทรสาคร เงินทุนรวมเฉียด 1,500 ล้านบาท
กรมโรงงานเผย ครึ่งแรกของปี 63 มีโรงงานขอใบอนุญาต รง.4 เปิดโรงงานใหม่ และขยายกิจการ จำนวน 1,702 ราย จ้างงานใหม่กว่า 1.2 แสนคน เงินลงทุน 1.7 แสนล้านบาท โดยเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารมากที่สุด
สถาบันไทย-เยอรมัน ชวนผู้ประกอบการเข้าร่วม “โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ปีงบประมาณ 2563” เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรภาคอุตสาหกรรมและบุคลากรที่เกี่ยวข้องภายในสายการผล…
สถาบันไทย-เยอรมัน ชวนอบรมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัยเพื่อการบริหารจัดการและการดำเนินงานด้าน Lean IoT นำมาประยุกต์ใช้ในการสถานประกอบการเพื่อพัฒนาและปร…
งานเสวนาออนไลน์ “Support Measures for Economic Recovery” เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับมาตรการส่งเสริมการลงทุน มาตรการด้านการเงินและการคลัง เพื่อสนับสนุนภาคธุรกิจในระยะฟื้นตัว (ไม่มีค่าใช…
บีโอไอส่งเสริมให้ประเทศไทยก้าวสู่ระบบเกษตรสมัยใหม่ ที่ใช้เทคโนโลยียกระดับกระบวนการผลิตให้มีประสิทธิภาพ ได้มาตรฐาน ช่วยลดต้นทุนและสร้างรายได้ให้เกษตรกรมากขึ้น
ภาคเอกชนและผู้มีจิตศรัทธาเข้าเยี่ยมชมการดำเนินงานพัฒนาชุดระบบหุ่นยนต์ฯ โครงการ “มดบริรักษ์” ช่วยบุคลกรแพทย์ ณ อาคารปฏิบัติการพื้นฐาน (ฟีโบ้) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เดือน มิ.ย. 63 มีการอนุญาตให้ต่างชาติลงทุนในไทยภายใต้ พ.ร.บ.ต่างด้าวฯ รวม 22 ราย โดยส่วนใหญ่เป็นคนจากประเทศญี่ปุ่น สิงคโปร์ และจีน ส่งผลให้จำนวนธุรกิจที่ได้รับอนุญาต ครึ่งปีแรกเพิ่มขึ้นราว 35%
นักลงทุนต่างชาติ ยังมองไทยเป็นฐานการผลิต สะท้อนได้จากล่าสุด บริษัท แอลแอลไอที (ประเทศไทย) จำกัด หรือหลิงหลง ผู้ผลิตยางล้อรถยนต์ยักษ์ใหญ่จากประเทศจีน เตรียมขยายกำลังการผลิตเพิ่ม หลังมองโควิดในไทยคลี่คลายแล้ว
หลักสูตรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบบออนไลน์ด้านการประยุกต์ใช้ LORA TECHNOLOGY โดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (DIP) มี 5 modules เมื่อเข้าร่วมฝึกอบรมครบตามเกณฑ์ สามารถขอรับคำปรึกษาเพิ่มเติม หรือขอฝึกปฏิบัติได้
การใช้โรบอทในโรงงานส่งผลกระทบต่อการจ้างงานอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ มีงานวิจัยระบุถึงความสัมพันธ์ของจำนวนหุ่นยนต์ มีผลต่ออัตราการจ้างงาน และค่าแรงงาน รวมถึงความได้เปรียบเชิงธุรกิจ
NIA จับมือ ธ.ก.ส. เปิด “โครงการนวัตกรรมดี...ไม่มีดอกเบี้ย” ส่งเสริมธุรกิจ "เกษตรนวัตกรรม" ตามโมเดลเศรษฐกิจใหม่ BCG
นโยบายและมาตรการเพื่อผลักดันอุตสาหกรรมระบบรางจากโปรเจกต์รถไฟไทยทั่วประเทศ รู้ก่อน พร้อมก่อน ไม่ตกขบวน
การรถไฟแห่งประเทศไทยเผยข้อมูลโครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน ส่วนต่อขยาย ระยอง-จันทบุรี-ตราด ในการประชุม Market sounding เมื่อ 24 ก.ค. 63
corethailand.org จัดแคมเปญ ขึ้นทะเบียน "ผู้ประกอบการเครื่องจักรอัตโนมัติและหุ่นยนต์" ไม่มีค่าใช้จ่าย ภายใน 30 ก.ย.63 (จากปกติ 2500 บ.)
ช่วง 6 เดือนแรกปี 2563 มี 754 โครงการที่ขอส่งเสริมการลงทุน เพิ่มขึ้น 7% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่มูลค่าเงินลงทุนลดลง 17%
ม. หอการค้าไทย เผยผลการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อ FDI ไทยของผู้ประกอบการ ในงานแถลงข่าว “บุญหล่นทับหรือกรรมซ้ำเติม?...ฐานการผลิตไทยกับ CLMV หลัง COVID-19”
Mr. Hiroshi Osagawara ผู้รับตำแหน่งประธานคนใหม่ Japan Robot Association ให้สัมภาษณ์ถึงความเป็นไปและปัญหาของอุตสาหกรรมหุ่นยนต์หลังโควิด
มาตรการพิเศษเพื่อส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมนำหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติมาใช้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตในโรงงาน
ช่วงเดือนต.ค.62 - มิ.ย.63 มีนักลงทุนยื่นคำขอใบอนุญาตแจ้งเริ่มประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรมทั่วประเทศรวม163 ราย เพิ่มขึ้น 41 รายจากช่วงเดียวกันในปีที่แล้ว
6 ผู้ผลิตหุ่นยนต์อุตสาหกรรมญี่ปุ่นร่วมสถาบันวิจัยและภาคการศึกษาก่อตั้ง ROBOCIP เพื่อวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีพื้นฐานหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
ม.ค.-มิ.ย. 63 โครงการยื่นขอรับการส่งเสริมตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต รวม 88 โครงการ แบ่งเป็นประหยัดพลังงาน 67 โครงการ และปรับเปลี่ยนเครื่องจักร 21 โครงการ
รง. Mazda Toyota Manufacturing ในสหรัฐฯ ได้รับงบลงทุนเพิ่มอีก 830 ล้านดอลลาร์ เพื่อรองรับยานยนต์รุ่นใหม่ และเพิ่มกำลังการผลิต
ร่วมติดตามความคืบหน้าของโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) กับการลงพื้นที่ของรมต.กท.อุตสาหกรรม และคณะ
สสว. และ ธพว. เปิดรับยื่นขอสินเชื่อ “SMEs One” รอบ 2 ผ่านออนไลน์ ตั้งแต่วันที่ 24 ส.ค. 63 เป็นต้นไป ปิดรับคำขอเมื่อวงเงินยื่นขอกู้เต็ม
ผู้ผลิตอาหารสัตว์ ต้องการหาผู้ผลิตและวางระบบ Automation ทั้งระบบในโรงงาน เช่น ASRs, Rack, Automation Cranes, Belt Conveyor
ส.อ.ท. ผนึกภาคเอกชน จัดอบรม Lean Automation ระหว่างวันที่ 9 กันยายน - 8 ตุลาคม นี้ ณ ศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรมฯ (ITC)
บีโอไอ อนุมัติ 42 โครงการ หนุนไทยฐานผลิตอุตฯ การแพทย์ โดยส่วนใหญ่เป็นกิจการผลิตเครื่องมือแพทย์และชิ้นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันโควิด
ไทยเตรียมพื้นที่นิคมรับการย้ายฐานผลิตของนักลงทุนจีน ไต้หวัน ฮ่องกง และญี่ปุ่น โดยเฉพาะอุตฯ ผลิตอาหาร เกษตรแปรรูป และเครื่องมือแพทย์
EEC Automation Park พัฒนาบุคลากร ด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ผ่านศูนย์การเรียนรู้ ศูนย์ฝึกอบรม และหน่วยงานประสานความร่วมมือ เปิดเต็มรูปแบบปี 2564
เปิดเฟสแรก 1,300 ไร่ ต้นปี 2564 ดูดนักลงทุนย้ายฐานจากจีน คาดดึงเม็ดเงินลงทุนแตะ 100,000 ล้านบาท
NR Connect เทคโนโลยีด้าน IoT ที่เข้ามาสนับสนุนผู้ประกอบการโรงงาน ได้ก้าวผ่านสู่โรงงานอัจฉริยะ Smart Factory ในอนาคตอันใกล้
หุ่นยนต์อาจไม่ใช่ทุกคำตอบ เมื่อเทสล่าไม่บรรลุผลในการใช้หุ่นยนต์เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยหันพึ่ง "เครื่องฉีดอะลูมิเนียมไดคาสติ้ง" เพื่อผลิตชิ้นส่วนที่ออกแบบให้เรียบง่ายขึ้นและมีจำนวนชิ้นที่น้อยลง
กรมโรงงานฯ เผยข้อมูลสถิติจำนวนโรงงานใหม่ประจำเดือนสิงหาคม 2563 มีโรงงานใหม่ทั่วประเทศ 207 โรงงานลดลงจากปีก่อน
EEC Automation Park พัฒนาบุคลากร ด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ผ่านศูนย์การเรียนรู้ ศูนย์ฝึกอบรม และหน่วยงานประสานความร่วมมือ เปิดเต็มรูปแบบปี 2564
สิงหเสนี กรุ๊ป ร่วมทุน แอทยีนส์ โกลบอล ลิงค์ ลงนามสัญญาเช่าที่ดิน 83 ไร่ ในพื้นที่โครงการนิคมอุตสาหกรรมยางพารา ผลิตถุงมือแพทย์ คาดเปิดดำเนินการได้เมษายน 2564
กรณีศึกษาและวิธีคิดจากผู้ประกอบการเครื่องมือแพทย์ในญี่ปุ่น ตีโดนแย่งตลาดหุ่นยนต์ผ่าตัด da Vinci สหรัฐฯ แบ่งปันและสนับสนุนให้นำไปต่อยอดพัฒนาอุตฯ ไทย
BOI ร่วม สำนักงานอีอีซี ดึง 16 นักลงทุนผู้ประกอบการรายใหญ่ในพื้นที่ EEC ประชุมร่วมนายกรัฐมนตรี เรียกเชื่อมั่นนักลงทุน เร่งเครื่องอีอีซีขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
การประชุมระดมสมอง เพื่อจัดทำ Technology Roadmap โดยความร่วมมือของภาครัฐ และเอกชน ภายใต้โครงการศึกษาแนวทางการยกระดับผลิตภาพและสร้างคุณค่าของภาคเศรษฐกิจไทย
แม้ว่าเหตุผลหลักในการใช้หุ่นยนต์นั้นจะเป็นการทดแทนแรงงานและลดต้นทุนการผลิต แต่สำหรับตลาด SME แล้ว ต้องเริ่มจากการสร้างความรู้ความเข้าใจ และเน้นใช้หุ่นยนต์เพิ่มประสิทธิภาพของสินค้า
มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ บุกเบิกการพัฒนา “Vegebot” หุ่นยนต์เก็บเกี่ยวพืชผลการเกษตร ปัจจุบันสามารถใช้เก็บหัวผักกาดในแปลงเกษตรได้แล้ว
โควิด คือ จุดเปลี่ยนสำคัญที่ไม่ใช่เพียงปี 2020 เท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงอนาคตหลังจากนี้ ซึ่งกลุ่มผู้ผลิตญี่ปุ่นได้ร่วมวิเคราะห์แนวโน้มของแต่ละอุตสาหกรรมในช่วงครึ่งหลังของปีงบฯ 2020
ปี 2019 ทั่วโลกมีการใช้งานหุ่นยนต์อุตสาหกรรมรวม 2.7 เครื่อง เพิ่มขึ้น 12% ติดตั้งใหม่ 3.7 แสนเครื่อง มูลค่ารวม 13.8 หมื่นล้านเหรียญ ในปี 2020 โควิดทำตลาดชะลอตัว
สุมิพล รุกคืบ ชูแนวคิด Zero Defect ลดของเสียให้เป็นศูนย์ ดันโรงงานให้มีระบบการผลิตที่ดี พร้อมกับการควบคุมคุณภาพได้ในตัวเองตลอดกระบวนการ
รัฐบาลญี่ปุน มอบทุนให้ 7 บริษัทญี่ปุ่นในไทย ภายใต้โครงการ “Asia Digital Transformation” เพื่อสนับสนุนให้เกิดการลงทุนพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล โดยมุ่งแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคมระยะยาว
เพราะโควิดกระทบทุกภาคส่วนและกินเวลายาวนานเกินกว่ามรสุมลูกใด A.I. Group เผยผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรม ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในกลุ่มลูกค้า และแนวโน้มในอนาคต
กรมโรงงานฯ เผย ในเดือนกันยายน 2563 มีโรงงานจดทะเบียนใหม่ทั่วประเทศ 331 รง. สมุทรสาครมีโรงงานใหม่มากที่สุด และมีทุนจดทะเบียนสูงสุด 2.3 พันล้าน