
ยอดขายรถยนต์ 2564 ครึ่งปีแรก หดเหลือ 3.7 แสนคัน เดือน มิ.ย. ตลาดยังไม่ฟื้น โดนโควิดเล่นงานยาว
ในเดือนมิถุนายน 2564 ยอดขายรถยนต์ในประเทศ มีจำนวนทั้งสิ้น 61,758 คัน เพิ่มขึ้น 15% (YoY) รวม 6 เดือน ขายรถได้ 373,193 คัน
ในเดือนมิถุนายน 2564 ยอดขายรถยนต์ในประเทศ มีจำนวนทั้งสิ้น 61,758 คัน เพิ่มขึ้น 15% (YoY) รวม 6 เดือน ขายรถได้ 373,193 คัน
การผลิตรถยนต์ในเดือนมิถุนายน 2564 ลดลง 4% จากเดือนก่อนหน้า เหตุขาดแคลนชิ้นส่วนทำให้การผลิตต้องหยุดชะงักในบางรุ่น
ในเดือนมิถุนายน 2564 ไทยมีการผลิตรถจักรยานยนต์ทั้งสิ้น 216,671 คัน เพิ่มขึ้น 141% จากช่วงเดียวกันปีก่อน โดยยังคงผลิตได้เกิน 2 แสนคันต่อเนื่อง
ครึ่งปีแรก อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนไทย มีมูลค่าส่งออกรวมกว่า 4.4 แสนล้านบาท โดยเดือนมิถุนายน 2564 ทำยอดได้ราว 7.8 หมื่นล้าน เพิ่มพันล้านจากเดือนก่อนหน้า
สถานการณ์ส่งออกในเดือนมิถุนายน 2564 ไทยสามารถรักษาตัวเลขส่งออกเหนือระดับ 2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5 ขยายตัว 43.82% และทำสถิติใหม่สูงสุดรอบ 11 ปีได้อีกครั้ง
ในเดือน มิ.ย. 64 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลก ปิดที่ 1,203 ล้านเหรียญ โต 96.6% ขณะที่ไทยสั่งซื้อ 15.3 ล้านเหรียญติดอันดับ 1 อาเซียนต่อเนื่องเดือนที่สอง
ดัชนี MPI มิ.ย. 64 อยู่ที่ระดับ 97.73 เพิ่มขึ้น 17.58% รวมครึ่งปีแรก ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมขยายตัว 9.41%% ยานยนต์, ชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์, เหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐาน ปรับตัวสูงกว่าปี 2563
ตัวเลขโรงงานจดทะเบียนใหม่ทั่วประเทศเดือนมิถุนายน 2564 รวม 226 รง. เมืองชล เปิดโรงงานใหม่มากที่สุด ขณะที่ ราชบุรี เม็ดเงินลงทุนสูงสุด
โตโยต้าครองอันดับหนึ่งยอดขายรถยนต์ 2564 ครึ่งปีแรก ด้วยส่วนแบ่งตลาด 31.4% ตามด้วย อีซูซุ 25.0% และฮอนด้า 11.4%
โมเดลเศรษฐกิจ BCG อย่างเศรษฐกิจชีวภาพ (Bio Economy) เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) และเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ไทย อย่างไร…
ส.อ.ท. เผยดัชนีเชื่อมั่นอุตสาหกรรม ก.ค. 64 อยู่ที่ 78.9 ลดลงจากระดับ 80.7 ในเดือนก่อนหน้า ค่าดัชนีฯ ต่ำสุดในรอบ 14 เดือน เอกชนจี้รัฐปูพรมตรวจโควิดเชิงรุก ขอวัคซีน ม.33 ปล่อยสินเชื่อ SMEs
บีโอไอ เผย ภาวะการส่งเสริมการลงทุนในช่วง 6 เดือนแรก (ม.ค.-มิ.ย.) ปี 2564 มีโครงการขอรับการส่งเสริมการลงทุนจำนวน 801 โครงการ มูลค่าเงินลงทุน 386,200 ล้านบาท
ช่วง 9 เดือนของปีงบประมาณ 2564 (ต.ค.63-มิ.ย.64) ยอดขาย/เช่าพื้นที่ในนิคมฯ มีเพียง 927.09 ไร่ ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 49.59 ซึ่งได้รับผลกระทบจากการลงทุนโดยตรงจากต่างประเท…
'พาณิชย์' เปิดเผยสรุปรายงานดัชนีราคาผู้ผลิตของไทยปี 2564 ประจำเดือนกรกฎาคม และยอดเฉลี่ยรวม 7 เดือน
คาร์บอนไฟเบอร์ หรือ เส้นใยคาร์บอน (CF: Carbon Fiber) วัสดุคอมโพสิตที่มีความแข็งแรงและทนทานมาก มีน้ำหนักเบา เป็นที่ต้องการของตลาดในหลายเซกเตอร์ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่โลกกำลังให้ความส…
บอร์ด กนอ.เห็นชอบคงอัตราค่าเช่าให้ผู้ประกอบการที่เช่าที่ดินนิคมอุตสาหกรรมภาคใต้ จังหวัดสงขลา ในส่วนพื้นที่ ระยะที่ 2/2 และระยะที่ 3 (พื้นที่ Rubber City) ออกไปอีก 1 ปี หลังโควิดยืดเยื้อ
เวียดนามกำลังเปลี่ยนผ่านสู่ประเทศส่งออกสินค้าไฮเทคมูลค่าสูงไปยังกว่า 100 ประเทศทั่วโลก และมีโทรศัพท์มือถือและชิ้นส่วนเป็นสินค้าส่งออกอันดับ 1
การฟื้นตัวของภาคธุรกิจขนาดใหญ่กำลังเดินหน้าด้วยดี จากการกระจายวัคซีนที่มีคุณภาพในหลายประเทศ แต่ทว่า ผลกระทบต่อเนื่องจากโควิดได้ทิ้งรอยไว้ให้ภาคธุรกิจต้องเผชิญวิกฤตกันต่อไป
สถานการณ์ส่งออกในเดือนกรกฎาคม 2564 ไทยยังคงรักษาตัวเลขส่งออกเหนือระดับ 2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ได้ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6 ขยายตัวที่ 20.27%
ก.อุตฯ ชง ขยายเวลา Green Tax Expense ลดหย่อนภาษีนิติบุคคล 1.25 เท่า พร้อมปรับปรุงกฎระเบียบเอื้อลงทุน และออกมาตรฐานผลิตภัณฑ์ หนุนอุตสาหกรรมชีวภาพ
การผลิตรถยนต์ในเดือนกรกฎาคม 2564 ลดลงอีก 8% จากเดือนก่อนหน้า หลังผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยานยนต์ยังคงเผชิญปัญหาขาดแคลนชิป และชิ้นส่วนรถยนต์บางชิ้น
ในเดือนกรกฎาคม 2564 ยอดขายรถยนต์ในประเทศ มีจำนวนทั้งสิ้น 52,442 คัน ต่ำสุดรอบ 7 เดือน สาเหตุจากการล็อกดาวน์ วิกฤตชิปและชิ้นส่วนขาดตลาด และอนุมัติสินเชื่อเข้ม
เดือนกรกฎาคม 2564 อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนไทย มีมูลค่าส่งออกรวม 72,267.97 ล้านบาท ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่ส่งออกได้ 78,566.12 ล้านบาท
จับตาอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์ไทย หลังเดือนกรกฎาคม 2564 ไทยมีการผลิตรถจักรยานยนต์ทั้งสิ้นเพียง 130,918 คัน ลดฮวบจากเดือนก่อนหน้า
จากวิกฤตชิปขาดตลาดทำให้มีการลงทุนในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์อย่างคึกคัก และสิงคโปร์ อดีตผู้เล่นอันดับ 3 ของโลกก็พร้อมจะกลับมาทวงบัลลังก์แล้ว
สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ดัชนี MPI หดตัว 7.1% จากไตรมาสก่อนหน้า
กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปิดเผยแนวโน้มอุตสาหกรรมในไตรมาส 3 ปีนี้ที่ยังได้รับผลกระทบจากโควิด-19 เป็นปัจจัยสำคัญ
ดัชนี MPI ก.ค. 64 อยู่ที่ระดับ 91.41 เพิ่มขึ้น 5.12% รถยนต์และเครื่องยนต์, ชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์, ผลิตภัณฑ์ยางอื่น ๆ, เม็ดพลาสติก และน้ำตาล ปรับตัวสูงกว่าปี 2563
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวมกว่า 1.34 แสนล้านเหรียญ ส่งออกขยายตัว 31.8% ในขณะที่นำเข้าขยายตัว 47.95 % เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าในไตรมาสนี้ เกินดุลเกือบ 2 พันล้านเหรียญ
สถานการณ์อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าของไทยในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีการขยายตัวทั้งด้านการผลิต การบริโภค และนำเข้า โดยคาดการณ์ว่าจะยังคงขยายตัวได้ดีในไตรมาสถัดไป
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมไฟฟ้า ปี 2564 ไตรมาส 2 และแนวโน้มไตรมาส 3 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
อุตสาหกรรมพลาสติกไตรมาส 2/2564 ดัชนีผลผลิต-ส่งสินค้าไตรมาสสอง หดตัวลงจากไตรมาสก่อน แต่ยังขยายตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้ว
เมื่อทั่วโลกต่างต้องการชิปเซมิคอนดักเตอร์และวัคซีนโควิด-19 จนเกิดเป็นภาวะขาดแคลน สองปัจจัยนี้ได้ถูกหยิยยกให้เป็นโจทย์สำคัญในแผนลงทุนของซัมซุงกรุ๊ปในปี 2021-2023
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เผยสถานการณ์อุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์และชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ในไตรมาสที่ 2/2564
สภาอุตสาหกรรมฯ บพข. และวิศวะจุฬาฯ ร่วมมือดำเนินโครงการการปรับเปลี่ยนอุตสาหกรรมไทยสู่ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน เพื่อยกระดับธุรกิจ 5 คลัสเตอร์อุตสาหกรรม
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ไทย ปี 2564 ประจำไตรมาสที่ 2 และแนวโน้มไตรมาสที่ 3 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไทย ปี 2564 ไตรมาส 2 และแนวโน้มไตรมาส 3 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
ตัวเลขโรงงานจดทะเบียนใหม่เดือนกรกฎาคม 2564 รวมทั่วประเทศ 225 โรงงาน โดยจังหวัดชลบุรีมีจำนวนโรงงานเปิดใหม่มากที่สุด 27 แห่ง เงินทุนรวม 951.79 ล้านบาท
เทคโนโลยีการผลิตแผงวงจรกำลังอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่านเพื่อตอบรับกับชิ้นส่วนที่มีขนาดเล็กลง แต่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ขณะเดียวกันต้องเร่งให้ทันกับการขยายตัวของตลาดในหลายเซกเมนต์
'พาณิชย์' เปิดเผยสรุปรายงานดัชนีราคาผู้ผลิตของไทยปี 2564 ประจำเดือนสิงหาคม และยอดเฉลี่ยรวม 8 เดือน
ส.อ.ท. เผยดัชนีเชื่อมั่นอุตสาหกรรม ส.ค. 64 อยู่ที่ 76.8 ลดลงจากระดับ 78.9 ในเดือนก่อนหน้า ต่ำสุดรอบ 16 เดือน ปรับตัวลดลงทุกภูมิภาคและทุกขนาดอุตสาหกรรม
Sourcing ประกาศหาผู้ผลิตชิ้นส่วนในประเทศไทย เพื่อผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า อาทิ หม้อทอดไร้น้ำมัน เตาอบ เครื่องซีลสูญญากาศ และเครื่องทำกาแฟ
จากปัญหาซัพพลายเชนส่งผลให้ต้นทุนการผลิตพุ่งสูง ท่ามกลางวิกฤตชิปขาดตลาด ในที่สุด ผู้ผลิต Semiconductor ก็ไม่อาจต้านทานได้อีกต่อ จำต้องปรับขึ้นราคาชิปทุกชนิด
มาตรการด้านสิ่งแวดล้อมกระตุ้นให้ธุรกิจต้องปรับตัว บล็อกเชนจึงถูกเลือกเพื่อใช้สืบค้นย้อนกลับ สร้างความเชื่อมั่นในการใช้พลาสติกรีไซเคิลอย่างปลอดภัย
เอสซีจี เคมิคอลส์ – Braskem ผนึกกำลังขับเคลื่อนพลาสติกชีวภาพไทย ศึกษาความเป็นไปได้ในการร่วมทุนสร้างโรงงานผลิตไบโอ-เอทิลีน สำหรับผลิตเม็ดพลาสติกไบโอ-พอลิเอทิลีน
แอลจี ตั้งเป้านำ พลาสติกรีไซเคิล กว่าครึ่งล้านตันกลับมาใช้ใหม่ พร้อมเล็งใช้เม็ดพลาสติกที่มาจากวัสดุที่ผ่านการใช้งานโดยผู้บริโภคเพิ่มขึ้น 10 เท่าตัว ภายในปี 2568
สมอ. ช่วยอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศของไทยที่ได้รับผลกระทบจากการลดการนำเข้าสินค้า โดยพร้อมเจรจาอินโดนีเซีย ก่อนร้องเรียนไปยัง WTO
ดัชนีนวัตกรรมโลก ไทยแซงเวียดนาม เข้าป้ายอันดับ 43 และครองแชมป์อันดับ 1 ของโลกด้านสัดส่วนการลงทุน R & D องค์กรธุรกิจ เป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน
การผลิตรถยนต์ในเดือนสิงหาคม 2564 ลดลงอีก 15.44% จากเดือนก่อน เหลือเพียงแสนคันเศษ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยานยนต์ยังคงเผชิญปัญหาขาดแคลนชิปและชิ้นส่วนอย่างต่อเนื่อง
ในเดือนสิงหาคม 2564 ยอดขายรถยนต์ในประเทศ มีจำนวนทั้งสิ้น 42,176 คัน ลดต่ำสุดรอบ 15 เดือน เหตุเผชิญหลายมรสุมพร้อมกัน